近来,泰国社交媒体上经常会出现和小朋友相关的视频,拍摄者大都是老师或者家长,视频的内容也不是展示小朋友的可爱,而是通过拍摄他们的一些糗事来博取观众的眼球。这样真的对视频中的小朋友们好吗?泰国的专家表明,这么做对小朋友的身心无益!到底怎么回事,我们一起来看看。

คลิปเด็กร้องไห้คิดถึงแม่ เด็กโดนกล้อนผม หมอและผู้เชี่ยวชาญแนะ ครูไม่ควรถ่ายคลิปเด็กสร้างคอนเทนต์เรียกยอดไลก์ยอดวิวในโซเชียล มีการเปิดรณรงค์ผ่าน เรียบร้อยแล้ว
关于孩子被剃头哭着 叫妈妈的视频,医生和专家建议,老师不应该为了获取评论和播放量在社交媒体上拍摄孩子的视频,针对这件事在已经掀起了运动。

ผศ.พญ.จิราภรณ์ อรุณากูร หรือ กุมารแพทย์เวชศาสตร์วัยรุ่น รพ.รามาธิบดีฯ เจ้าของเพจ เลี้ยงลูกนอกบ้าน โพสต์ข้อความผ่านเพจ ถึงกรณีที่ครูถ่ายคลิปเด็กนักเรียนลงโซเชียลมีเดีย เป็นการกระทำที่ไม่เหมาะสม และเรียกร้องให้กระทรวงศึกษาธิการออกมาเคลื่อนไหว โดยระบุว่า
“在家外抚养孩子”主页负责人、拉玛铁菩提医院儿科医生Jiraphorn Arunakul通过自己的主页发表了评论,提到了老师拍摄学生视频然后上传到社交媒体上,认为这是不适宜的行为,并呼吁教育 部做出动作,内容如下:

“เด็กนักเรียนไม่ใช่เครื่องสร้างคอนเทนท์ เด็กนักเรียน ไม่ใช่เครื่องมือสร้างคอนเทนท์ให้ครู พ่อแม่ควรรู้ ว่านี่คือเรื่องของการละเมิดสิทธิ อะไรที่ลงในโลกออนไลน์ ‘มันจะอยู่ที่นั่นตลอดไป’ เด็กๆ หลายคนไม่ได้เต็มใจให้ครูเอาพวกเขาไปเรียกยอดไลก์ แต่อำนาจที่สูงกว่า ทำให้เด็กหลายคนไม่กล้าปฏิเสธ Social bullying ในเด็ก หลายครั้งเกิดจากการเห็นตัวอย่างจากผู้ใหญ่
“学生不是提供拍摄素材的机器,不是老师获取素材的工具,父母应该知道,这侵犯了孩子的权利,发布在网上的东西会一直存在,很多小朋友对于老师利用他们获得流量并不开心,但是老师地位高于他们,导致很多学生不敢拒绝,这是对小朋友的社交霸凌,很多时候都来自成人。

ครูมีหน้าที่พิทักษ์สิทธิของเด็ก โรงเรียนมีหน้าที่กำกับ การละเมิดสิทธิผู้อื่นของครู กระทรวงศึกษามีหน้าที่ทำให้ครูเกิดความเข้าใจ และออกกฎกติกา เพื่อทำให้ไม่เกิดการเลียนแบบและทำกันอยู่ซ้ำๆ พ่อแม่มีหน้าที่ปกป้องสิทธิของลูก ด้วยการส่งเสียงไม่ยอมรับกับสิ่งที่เกิดขึ้น สังคมมีหน้าที่ไม่สนับสนุนการกระทำ ที่กำลังเกิดขึ้นกับเด็กซ้ำๆ เหล่านี้ ก่อนลงอะไรในโลกออนไลน์ ช่วยถามตนเองซ้ำๆ ว่าสิ่งที่กำลังทำมันเกิดประโยชน์กับใคร และเด็กๆ เค้าได้อะไรจากสิ่งเหล่านี้?”
老师有职责保护学生,学校有职责管理侵犯学生权利的老师,教育部有职责让教师理解遵守规则,保证不让这样的行为再发生,父母有权利保护自己孩子的权益,可以发声反 对所发生的这种事,社会有义务不支持这样持续发生在儿童身上的行为,在发表任何东西之前,要不断问自己,正在发出去的东西会对谁产生益处?孩子们能从中获得什么?”

นอกจากนี้ หมอโอ๋ยังเปิดแคมเปญในเว็บไซต์ ในหัวข้อว่า กระทรวงศึกษาต้องปกป้อง #นักเรียนไม่ใช่คอนเทนต์ #TikTok เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ที่เห็นด้วยร่วมลงชื่อรณรงค์และเกิดการเปลี่ยนแปลงในสังคมอย่างเป็นรูปธรรม โดยใจความในเว็บไซต์ ระบุว่า
除此之外,这名医生还在发起了名为“教育部要保护#学生不是获取素材的工具#TikTok”的运动,让同意的网友共同签字,在社会上产生可见的影响, 网站的大致内容如下:

“คลิปครูพาเด็กไปกล้อนผม คลิปเด็กร้องไห้เมื่อเขียนการ์ดวันแม่ คลิปเด็กกรีดร้องเพราะไม่อยากมาโรงเรียน
“孩子剃头 发的视频、孩子写母亲节卡片时大哭的视频、孩子哭着不想上学的视频

หลายครั้งแล้วที่โลกออนไลน์และสื่อแชร์คอนเทนท์เกี่ยวกับเด็กๆ ซึ่งแม้หลายคนจะมองว่าตลก น่าสงสาร หรือน่าเอ็นดู แต่เรากลับลืมคำถามสำคัญ ว่า เด็กๆ… ได้อะไรจากสิ่งเหล่านี้?
很多次社交媒体上流 传着关于小朋友的视频,很多人都认为很搞笑、很可怜、很招人喜欢,但是却忘记了,小孩子从这些视频里能得到什么?

หลายคอนเทนท์ที่ถูกโพสต์เพื่อเรียกยอดไลก์ เกิดขึ้นโดยที่เด็กๆ ไม่ได้ยินยอม ไม่รู้ตัว ไม่เข้าใจ ไม่ได้สนุกด้วย หรือปฏิเสธไม่ได้ เพราะกระทำโดยผู้มีอำนาจในโรงเรียน บางเรื่องเป็นการ Social bullying ทำให้เด็กอับอาย make fun หรือแกล้งเด็กจนเด็กหวาดกลัว ซึ่งสิ่งเหล่านี้ส่งผลเสียมากมายกับตัวเด็ก และเป็นการละเมิดสิทธิเด็ก
很多被点赞的评论都在孩子们不同意、不知情、不理解、不认为有趣、无法拒绝的情况下被传播,因为发布视频的人是学校里拥有权力的人,有些行为属于社交霸 凌,导致孩子们感到羞耻,取笑孩子们让他们感到害怕,这些行为对孩子们会产生负面影响,是侵犯孩子们权利的行为。

ประเด็นหนึ่งที่น่ากังวลในตอนนี้ คือ คลิปไวรัลเหล่านี้มาจาก ‘ครู’ ผู้ซึ่งมีหน้าที่พิทักษ์สิทธิของเด็กเสียเอง ทั้งๆ ที่โรงเรียนควรเป็นพื้นที่ปลอดภัย เป็นที่ที่ทำให้เด็กเข้าใจเรื่องการเคารพสิทธิผู้อื่น แต่กลับกลายเป็นว่าเด็กๆ ถูกใช้เป็นเครื่องมือสร้างคอนเทนท์ให้ครู ซึ่งกรณีแบบนี้ไม่ควรจะเกิดขึ้นไม่ว่าจะเพราะความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ความไม่ระวังของครู หรือเพราะกระทรวงไม่มีกฎที่ห้ามครูทำอย่างนี้กับเด็กโดยชัดเจน
现在值得担心的一点就是,这些传播迅速的视频来自老师,他们本来有义务保护学生,学校本应该是安全的地方,是让学生们学习尊重他人权利的地方,但是 却让孩子们成了老师获得拍摄素材的工具,这样的事情不应该发生,不管是由于老师没意识到还是没注意到,还是教育部没有类似相关清晰明确的规定。

ผู้ตั้งแคมเปญเชื่อว่าเด็กๆ หลายคนคงรู้สึกไม่ดี เพราะอะไรที่ลงไปในโลกออนไลน์ ‘มันจะอยู่ที่นั่นตลอดไป’ ส่วนผู้ปกครองหลายคนก็คงไม่อยากให้ใครมาถ่ายรูป อัดคลิปลูก ไปใช้ล้อเลียนเพื่อความสนุกสนาน หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนตัว แต่เพราะความรู้สึกที่ว่า ครูมีอำนาจเหนือกว่า อาจทำให้เด็กหรือผู้ปกครองบางท่านไม่กล้าปฏิเสธ รวมถึงไม่กล้าว่ากล่าวอะไร
活动发起者相信, 很多小朋友会产生负面情绪,因为这样发在网络上的东西会一直存在,至于监护人肯定也不乐意老师给孩子拍照拍视频,为了搞笑去取笑孩子,或者公开孩子的私人信息,但是又感觉老师的权力更大,可能导致很多孩子和家长不敢反对,也不敢说什么。

หมอโอ๋เพจเลี้ยงลูกนอกบ้าน (จิราภรณ์ อรุณากูร ผู้ตั้งแคมเปญรณรงค์) จึงอยากชวนทุกคนร่วมกันเรียกร้องไปที่กระทรวงศึกษาธิการ ให้ออกกฎคุ้มครองสิทธิเด็ก ไม่ให้ครูหรือบุคลากรทางการศึกษาใช้เด็กมาผลิตคอนเทนต์ โดยเฉพาะในกรณีที่ทำให้เด็กเกิดความอับอาย หรือในรูปแบบอื่นๆ ที่ละเมิดสิทธิของเด็กเอง โดยทางกระทรวงฯ ควรมีหน้าที่สร้างความเข้าใจ และออกกฎ กติกา เพื่อทำให้ไม่เกิดการเลียนแบบกันอยู่ซ้ำๆ
 以这名医生希望邀请大家共同向教育部呼吁,出台相关规定保护儿童权益,不要让老师或其他人利用儿童博眼球,尤其是会让儿童产生羞耻心的行为和其他损害儿童权益的行为,教育部有义务增强理解,出台规定,不要让类似的行为不断发生。

ขอสังคมช่วยกันส่งเสียงและร่วมประกาศจุดยืนว่า Social bullying และการละเมิดสิทธิเด็กในโรงเรียนที่เกิดขึ้นโดยคุณครู เป็นสิ่งที่ยอมรับไม่ได้ เรื่องนี้จะได้เป็นแนวทางที่สังคมจะได้เรียนรู้กันต่อไป รวมถึงเด็กและผู้ปกครองจะได้มีแนวทางในการดูแลสิทธิของตัวเองได้อย่างไร”
希望全社会能共同发声,一起表明立场,社交霸凌和学校里老师侵害学生权益的事件是不能被接受的,这件事全社会都应当继续关注学习,包括儿童和家长都应当继续学习如何保护自身的权益。

 

希望成年人在做类似事情的时候能够更多的站在小朋友的角度为他们考虑一下,而不是只图自己的一时之快!

 

声明:本文由沪江泰语编译整理,素材来自sanook,未经允许不得转载。如有不妥,敬请指正。