端午节是古老的传统节日,始于中国的春秋战国时期,至今已有2000多年历史。端午节的由来与传说很多,相信不少人也听说过屈原版的,那么你想知道泰语版的端午节的传说:屈原的故事改怎么表达吗?一起来阅读阅读吧!

端午节的传说:屈原的故事

ความเป็นมาของเทศกาลตวนอู่ เรื่องตำนานของชวีเอวี๋ยน

在春秋时期,中国分为许多个小国,秦国是其中最强大的国家,而楚国是比较弱小的国家,常常受到秦国的威胁。

ในสมัยชุนชิว ประเทศจีนถูกแบ่งเป็นแคว้นเล็กๆ จำนวนมาก แคว้นฉินเป็นแคว้นที่เข้มแข็งที่สุดในขณะนั้น ส่วนแคว้นฉู่เป็นแคว้นที่อ่อนแอและเล็ก ซึ่งมักถูกแคว้นฉินกดขี่ข่มเหง

屈原是楚国的大臣,他十分担心自己的国家,建议楚王联合齐国一起来抵抗秦国,遭受到贵族士大夫阶层的强烈反对。

ชวีเอวี๋ยน เป็นขุนนางระดับสูงของแคว้นฉู่ เขาห่วงใยประเทศชาติบ้านเมืองของตนมาก เสนอให้แคว้นฉู่ร่วมมือกับแคว้นฉีเพื่อต่อต้านแค้วนฉิน แต่ถูกเหล่าราชนิกู ลและชนชั้นสูงต่อต้านอย่างหนัก

屈原遭到陷害,被免去官职,流放到很远的地方。可是,屈原依然为自己的国家和人民而担忧,并因此写成了忧国忧民的不朽诗篇《离骚》。

ชวีเอวี๋ยนถูกปรักปรำให้ร้าย ถอดออกจากตำแหน่งขุนนาง และเนรเทศไปอยู่แดนไกล แต่ชวีเอวี๋ยนยังห่วงใยบ้านเกิดเมืองนอนและประชาชนของตน จึงได้ประพันธ์บทกวี อมตะชื่อ “หลีเซา” ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับความห่วงใยบ้านเมืองและราษฎร

公元前278年,秦国的军队果真占领了楚国的都城。屈原听到这个消息后悲痛欲绝,在农历五月初五那天跳进汨罗江自杀了。屈原用这种方式表达他对祖国的热爱和对世俗的悲愤。

278 ปีก่อนคริสตกาล กองทัพของแคว้นฉินก็เข้ายึดครองเมืองหลวงของแคว้นฉู่จริงๆ หลังจากชวีเอวี๋ยวนทราบข่าวนี้ เศร้าโศกเสียใจปานชีวาวาย และได้กระโดดลงแม่น้ำหมี่หลอเจียงเพื่อฆ่าตัวตาย ในวันที่ 5 เดือน 5 ตามปฏิทินจันทรคติ (ปฏิทินจีน) ชวีเอวี๋ยนใช้วิธีนี้ แสดงออกถึงความรู้สึกจงรักภักดีแต่ประเทศชาติ และความคับแค้นใจที่มีต่อสังคมโลก
楚国人们听到屈原自杀的消息,纷纷赶到江边。渔夫们划着船在江上努力寻找,希望能把他 打捞起来。

เมื่อชาวแค้วฉู่รู้ข่าวการฆ่าตัวตายของชวีเอวี๋ยน ต่างพากันมายังริมแม่น้ำ ชาวประมงก็ออกพายเรือหา เพื่อหวังว่าจะงมเขาขึ้นมาได้

有的人把给屈原准备的饭团子、鸡蛋扔进江里,希望江里的鱼、虾和螃蟹吃了这些食品,不去啃咬屈原的身体。

บางคนก็นำข้าวปั้น ไข่ต้มที่เตรียมไว้ให้ชวีเอวี๋ยน โยนลงแม่น้ำ เพื่อหวังว่าปลาปูกุ้งห้อยในน้ำ จะกินอาหารพวกนี้แล้วไม่ไปกัดกินร่างของชวีเอวี๋ยน

从此以后,每年到了五月初五,大家都会带着祭品到江边来纪念屈原。但是,人们发现直接把饭团扔到水里,饭团会散开,就想到先用树叶把饭包住,外面再用彩色的丝线绑住它。

นับแต่นั้นเป็นต้นมา เมื่อถึงวันที่ 5 เดือน 5 ของทุกปี ทุกคนจะนำเครื่องเซ่น มาเซ่นไหว้รำลึกถึงชวีเอวี๋ยนที่ริมแม่น้ำ แต่ผู้คนก็พบว่า การโยนข้าวปั้นลงน้ำตรงๆ ข้าวปั้นจะแตกออก จึงนึกถึงการใช้ใบไม้มาห่อแล้วเอาด้ายสีต่างๆ มัดมันไว้

慢慢地,这种用树叶包扎起来的饭团,就变成了今天的粽子。渔夫划船打捞屈原的行动,演变成了现在的一项赛龙舟的体育活动了。

นานวันเข้า ข้าวปั้นที่ห่อโดยใบไม้ จึงกลายเป็น “จ่าง” ในทุกวันนี้ กิจกรรมที่ชาวประมง พายเรืองมหาชวีเอวี๋ยน ก็กลายเป็นกิจกรรมการกีฬา “แข่งเรือมังกร” ในทุกวันนี้