曼谷大京都的徽章的正中是一头大象,象上是尊佛,大象脚踏云朵仿佛置身天堂,光芒环绕佛身左右,这样的标志有着怎样的美好寓意,又有着怎样的来历呢?!

ที่มาของสัญลักษณ์กรุงเทพมหานครฯ
曼谷大京都徽章的来历

เมื่อ "กรุงเทพมหานครฯ" ถูกตั้งขึ้นโดยเปลี่ยนแปลงจาก "นครหลวง" เดิม ให้มีการปกครองและการบริหารรูปแบบพิเศษ โดยเทศบาลประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 335 พ.ศ. 2515 นายชำนาญ ยุวบูรณ์ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครฯในขณะนั้น (ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครฯคนแรก)ได้ทำหนังสือถึงประธานกรรมการออกแบบเครื่องหมายของเทศบาลนครหลวง เพื่่อขอใช้เครื่องหมายเทศบาลนครหลวง รูปพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณทรงเครื่องด้านหน้า (ออกแบบโดยพลเอกสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ) ภาพพื้นเป็นภาพลายเส้น "ก้อนเมฆ" ให้เห็นชัดว่าอยู่บนสวรรค์ มีเส้นรัศมีห่างรอบๆ ทั้งซ้ายขวาของภาพพระอินทร์ นอกจากนี้ ได้เปลี่ยนตัวอักษรกำกับภาพจาก "่เทศบาลนครหลวง" เป็น "กรุงเทพมหานคร"
根据《佛历2515年政府改革委员会第335份通知》,原来的京都区将被改设为曼谷大京都,行使特别的行政与管理方式。时任曼谷市长察喃∙育瓦苯先生(曼谷大京都第一任市长)就此事致函京都区徽章设计委员会主席,请求希望徽章能使用因陀罗骑艾拉瓦塔象的图片(由Narisara Nuvadtivongs王子上将设计),大象脚踏云朵以示处于天堂之中,因陀罗左右光芒环绕,除此之外,还将图上文字“京都区”换成“曼谷大京都”。

ด้วยเหตุผลเพราะพิจารณาเห็นว่าความหมายของพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณนั้นหมายถึงการบำบัดทุกข์บำรุงสุขแก่ท้องถิ่นเป็นความหมายที่ดี เหมาะสมกับการนำมาเป็นสัญลักษณ์ของกรุงเทพมหานครฯ
原由是因为因陀罗骑艾拉瓦塔象象征着保一方水土祛灾纳福的美好寓意,非常适合拿来作为曼谷大京都的徽章。

本双语文章的中文翻译系沪江泰语原创内容,转载请注明出处。中文翻译仅代表译者个人观点,仅供参考。如有不妥之处,欢迎指正。